วันอังคารที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

วัฒนธรรมและศิลปะพื้นบ้านชาวล้านนา

การถ่ายทำเรื่อง วัฒนธรรมและประเพณีของชาวล้านนา การถ่ายทำคลิปนี้จะเป็นการถ่ยทำแนวสาระคดี

ฉากที่ 1 ถ่ายป้ายชื่อหน้าหมู่บ้าซึ่งมีฉากหลังเป็นแม่น้ำ คำพูด มีพิธีกรประจำสาระคดีหรือรายการออกมาพุดแนะนำรายการและแนะนำสมาชิกผู้จัดทำ คำพูดที่จะพูด สวัสดีท่านผู้ชมทุกท่านสำหรับในวันนี้ก็มาพบกับกระผม นาย ยุชณา รวมสุข ผู้ดำเนินรายการ ขอนำทุกท่านเข้าสู่รายการวัฒนธรรมและประเพณีของชาวล้านนา สำหรับวัฒนธรรมของชาวล้านนานั้นมีหลากหลายวัฒนธรรมด้วยกันแต่ละพื้นที่แต่ละโอกาสก็จะแตกต่างกันไปก็จะมีวัฒนธรรมทางการเกษตร วัฒนธรรมทางความเชื่อ และ วัฒนธรรมความเป็นอยู่ แต่วันนี้ท่านผู้ชมทุกท่านโชคดีมากสำหรับวันนี้ตรงกับการละเล่นในเทศกาลสำคัญของชาวล้านนาอย่างประเพณียี่เปงก่อนอื่นเราไปพบกับวัฒนธรรมความเป็นอยู่ของชาวล้านนากันเลยดีกว่า

ฉากที่ 2 ถ่ายทำในหมู่บ้านเล่าถึงวัฒนธรรมชีวิต คำพูด พิธีกรจะเล่าถึงการใช้ชีวิตและวัฒนธรรมของความเป้นอยู่ในหมู่บ้านแล้วจะบอกว่าวัฒนธรรมของชาวล้านนาส่วนใหญ่จะเป็นวัฒนธรรมเกี่ยวกับการเกษตรเราก็จะนำรายการ คำพูดที่จะพูด สรับฉากที่2นี้เราก็มาอย่ในหมู่บ้านที่เป็นการดำรงชีวิตของชาวล้านนาเดี๋ยวเราเข้าไปดูตามบ้านเรือนต่างๆ กันนะครับ หลังจากนั้นเราก้ไปดูสถานที่สำคัญกันก่อนกันนะครับ ก่อนอื่นเราก็ไปดูที่ศูนย์รวมจิตใจของหมู่บ้านกันเลย  ไปสู่ฉากที่3

ฉากที่ 3 จะเป็นการถ่ยทำในทุ่งนาและการเษตรซึ่งจะเป็นการลงแขกเกี่ยวข้าวแสดงถึงความสามัคคีและความแข็งแกร่งในวัฒนธรรม คำพูด พิธีกรอาจจะไปสัมภาษณ์ของชาวนาและพูดแนะนำวัฒนธรรมของชาวนา คำพูดที่จะพูด สำหรับตอนนี้เราก็มาอยู่ในทุ่งนาที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเกษตรนะครับเราเข้าไปดูใกล้ๆกันเลยว่าวัฒนธรรมการเกาตรของชาวล้านนาเปนอย่างไรสำหรับวัมนธรรมการเกษตรของชาวล้านนานั้นจะเป็นการแสดงถึงวิถีชีวิตของชาวล้านนาอีกประการหนึ่งคือความสามัคคี ความช่วยเหลือเกื้อกูล สำหรับวันนี้เราไปดูประเพณีการละเล่นนะครับ

ฉากที่ 4 เป็นการถ่ายทำเกี่ยวกับประเพณีและการละเล่นของชาวล้านนาในเทศกาลยี่เปง คำพูด แนะนำการละเล่นต่างๆ และ ประเพณีต่างๆ คำพูดที่จะพูด พูดแนะนำการละเล่นต่าง เล่นอย่างไร และสุดท้ายพูดแนะนำประเพรียี่เปงและขบวนแห่ประทีปต่างๆ

นางสาว ประภัสรา ไชยพฤกษ์ กำกับ
นางสาว เกศกนก  หน่อคำหล้า ถ่ายภาพ
นาย ยุชณา  รวมสุข รายงาน


งานชิ้นนี้จะถ่ยทำในวันที่ 20-21 พฤศจิกายน งานชิ้นนี้อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงในการถ่ายทำจริง

วัฒนธรรมและศิลปะพื้นบ้านภาคเหนือ

การถ่ายทำเรื่อง วัฒนธรรมและประเพณีของชาวล้านนา การถ่ายทำคลิปนี้จะเป็นการถ่ยทำแนวสาระคดี

ฉากที่ 1 ถ่ายป้ายชื่อหน้าหมู่บ้าซึ่งมีฉากหลังเป็นแม่น้ำ คำพูด มีพิธีกรประจำสาระคดีหรือรายการออกมาพุดแนะนำรายการและแนะนำสมาชิกผู้จัดทำ........................

ฉากที่ 2 ถ่ายทำในหมู่บ้านเล่าถึงวัฒนธรรมชีวิต คำพูด พิธีกรจะเล่าถึงการใช้ชีวิตและวัฒนธรรมของความเป้นอยู่ในหมู่บ้านแล้วจะบอกว่าวัฒนธรรมของชาวล้านนาส่วนใหญ่จะเป็นวัฒนธรรมเกี่ยวกับการเกษตรเราก็จะนำรายการไปสู่ฉากที่3

ฉากที่ 3 จะเป็นการถ่ยทำในทุ่งนาและการเษตรซึ่งจะเป็นการลงแขกเกี่ยวข้าวแสดงถึงความสามัคคีและความแข็งแกร่งในวัฒนธรรม คำพูด พิธีกรอาจจะไปสัมภาษณ์ของชาวนาและพูดแนะนำวัฒนธรรมของชาวนา

ฉากที่ 4 เป็นการถ่ายทำเกี่ยวกับประเพณีและการละเล่นของชาวล้านนาในเทศกาลยี่เปง คำพูด แนะนำการละเล่นต่างๆ และ ประเพณีต่างๆ

งานชิ้นนี้จะถ่ยทำในวันที่ 20-21 พฤศจิกายน งานชิ้นนี้อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงในการถ่ายทำจริง 

วันอังคารที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

วัฒนธรรมและศิลปะพื้นบ้านภาคเหนือ

ฉากที่1  แนะนำสมาชิกในกลุ่มและนำสมาชิกในกลุ่มหนึ่งคนมาเป็นพิธีกรและพิธีกรเล่าถึงประวัติความเป็นมาของชาวภาคเหนือจากอดีตจนถึงปัจจุบัน

ฉากที่2 พิธีกรเล่าถึงวัฒนธรรมและการดำรงชีวิตของชาวพื้นบ้านภาคเหนือโดยมีการถ่ายทำวัฒนธรรมการใช้ชีวิต การกิน ความเป็นอยู่ และการประกอบอาชีพของคนภาคเหนือ

ฉากที่3 มีการถ่ายทอดทางศิลปะ ความวิจิตรสวยงามของชาวภาคเหนือ ถ่ายทอดประเพณียี่เปง ถ่ายทอดการลงแขกเกี่ยวข้าวซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาวนาภาคเหนือ
                   
                        ..............................จบ................................. 

วันจันทร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2553

๐สวัสดีครับ๐ ยินดีต้อนรับเข้าสู่........ความรู้เกี่ยวกับ.....(พยาบาล).....และ..คณะ พยาบาลศาสตร์

พยาบาล  นั้นกว่าจะได้เป็นนั้นต้องมีการศึกษาหรือต้องเรียนคณะ พยาบาลศาสตร์ มาก่อนละและก่อนที่จะมาเรียนนั้นก็ต้องผ่านการเรียนชั้น ม.ปลาย สายการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ถึงจะสามารถเข้าศึกษาในคณะ พยาบาลศาสตร์ ได้ ในประเทศไทยก็มีการเปิดสอนคณะ พยาบาลศาสตร์ อยู่หลากหลายสถาบันด้วยกัน มีทั้ง วิทยาลัย พยาบาล และ มหาวิทยาลัย ต่างๆๆๆๆที่เปิดสอนในประเทศไทย อาทิ เช่น
สถาบันอุดมศึกษารัฐบาล
วิทยาลัยพยาบาลสังกัดหน่วยงานอื่น
วิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน
เห็นม่ายว่าในประเทศไทยก้อมีหลากหลาย สถาบัน ด้วยกัน งั้นเราก็ไปเข้าถึง หลักสูตรของ  (((((((คณะ...พยาบาลศาสตร์)))))) กันเลยดีกว่า

หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (4 ปี) ภาคปกติ

หลักสูตร
      19.1 จำนวนหน่วยกิตรวม ตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า
142
หน่วยกิต
      19.2 โครงสร้างหลักสูตร
      ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
31
หน่วยกิต
          1. วิชาภาษาอังกฤษ
12
หน่วยกิต
          2. วิชาภาษาไทย
3
หน่วยกิต
          3. วิชาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
3
หน่วยกิต
          4. วิชาทางด้านมนุษยศาสตร์
4
หน่วยกิต
          5. วิชาทางด้านสังคมศาสตร์
3
หน่วยกิต
          6. วิชาทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ
2
หน่วยกิต
          7. วิชาทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
4
หน่วยกิต
      ข. หมวดวิชาเฉพาะ
105
หน่วยกิต
          1. กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ
30
หน่วยกิต
          2. กลุ่มวิชาชีพ
75
หน่วยกิต
                        - รายวิชาภาคทฤษฎี                 48 หน่วยกิต
                        - รายวิชาภาคปฏิบัติ                 27 หน่วยกิต
      ค. หมวดวิชาเลือกเสรี
6
หน่วยกิต


และต่อกันด้วย ((((คณะ..พยาบาลศาสตร์))) ของมหาวิทยาลัยที่โด่งดังและเก่าแก่ ในเรื่อง การเรียนการสอน ของ คณะ พยาบาลศาสตร์ (((((((มหาวิทยาลัยมหิดล)))))))

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
Mahidol.jpg
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะพยาบาลแห่งแรกของไทย กำเนิดมาจาก โรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาล ในยุคโรงเรียนราชแพทยาลัย นับได้ว่าเป็นคณะพยาบาลที่วางรากฐานด้านการพยาบาลที่ยอดเยี่ยมของไทย

เนื้อหา

[แสดง]

 ประวัติ

 หน่วยงาน

 หลักสูตร

  • ระดับประกาศนียบัตร
    • หลักสูตรประกาศนียบัตรการพยาบาลเฉพาะทาง (สำหรับนักศึกษานานาชาติ)
    • หลักสูตรประกาศนียบัตรการพยาบาลเฉพาะทาง แบ่งออกเป็น สาขาการพยาบาลหัวใจและทรวงอก, การบริหารการพยาบาล, การพยาบาลผู้สูงอายุ, การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง, การพยาบาลผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์, การพยาบาลออโธปิดิกส์, การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคเรื้อรัง และการพยาบาลศัลยกรรมอุบัติเหตุ
  • ระดับปริญญาตรี
    • หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต
  • ระดับปริญญาโท
    • หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต แบ่งออกเป็น สาขาการพยาบาลมารดา - ทารกแรกเกิดและสุขภาพสตรี, การพยาบาลผู้ใหญ่, การพยาบาลอนามัยชุมชน, การพยาบาลเด็ก และการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
  • ระดับปริญญาเอก
    • หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาการพยาบาล (หลักสูตรนานาชาต ลักษณะงานและความก้าวหน้าในสาขาอาชีพ
  • บริการสุขภาพระดับวิชาชีพแก่บุคคลในภาวะปกติและเจ็บป่วย
  • ส่งเสริมบุคคลในการดูแลสุขภาพตนเอง มุ่งสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันความเจ็บป่วย และดูแลบำบัด รักษาพยาบาล ฟื้นฟู สุขภาพ ให้มีคุณภาพชีวิต
  • บัณฑิตทุกคนมีงานทำ สังคมต้องการ สามารถศึกษาต่อระดับปริญญาโทและเอก

 ข้อแนะนำที่ควรพิจารณาในการเข้าศึกษาวิชาชีพการพยาบาล

  • พยาบาลควรเป็นผู้มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น มีจิตสำนึกต่อส่วนรวมและให้บริการ ด้วยความเอื้ออาทร


                                          ชุดนักศึกษา คณะ พยาบาล ปี 2-4 และใช้ในอาชีพจริง




                                             ชุดนักศึกษาพยาบาล ปี 2-4 และใช้ในอาชีพจริง




เมื่อเรียนจบแล้วนั้นขั้นต่อไปยังไม่ถึงสุดๆๆขั้นต่อไปคือการ สอบใบประกอบวิชาชีพ

การสอบใบอนูญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลนั้นต้องสอบให้ผ่านทั้ง 8 วิชา ที่ คณะกรรมการสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ การพยาบาล ได้กำหนดไว้ มีเวลาการสอบต่อ 1 ครั้ง มีเวลาใช้สิทธิ 3 ปี ถ้ายังสอบไม่ผ่านก็ต้องทำเรื่องสมัครใหม่ดังนั้นเมื่อเราเรียนจบแล้วก็ต้องตั้งใจสอบจึงจะผ่านอย่ามั้นใจในตนเองสูงอย่าร้อนวิชานะจะบอกให้

ที่จริงใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลไม่จำเป็นเท่าไหร่
เมื่อเราจบแล้ว
ก็สามารถทำงานได้เลยไม่มีใบประกอบวิชาชีพก็ได้แต่
เมื่อไปทำงานแล้วจะไม่ได้ค่ะใบประกอบวิชาชีพ จำนวน ((((((3.000 บาท)))))))

เมื่อเราจบมาเรามีหรือไม่มีใบประกอบวิชาชีพเราก็สามารุถเป็น พยาบาล  อย่างสมบูรณ์แบบไดเ